Lovers Of The Red Sky ซับ ไทย Ep 7

Lovers Of The Red Sky ซับ ไทย Ep 7

ประกันสังคมมาตรา 33 ว่างงาน – สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย? - Youtube

สำนักงานประกันสังคมแนะช่องทาง ขั้นตอน และวิธีการขึ้นทะเบียนกรณี "ว่างงาน" จากสถานการณ์โควิด-19 กรณีลูกจ้าง มาตรา 33 ว่างงานอันเนื่องจากได้รับผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจ หรือเหตุสุดวิสัยอันเกิดจากการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สำนักงานประกันสังคมพร้อมดูแล โดยแนะช่องทาง ขั้นตอน และวิธีการขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน ดังนี้ วิธีการขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน 1. เป็นผู้ว่างงานจากสถานการณ์เศรษฐกิจ เช่น ลาออก หรือถูกเลิกจ้าง 2. ว่างงานจากเหตุสุดวิสัยโควิด-19 เพราะต้องถูกกักตัว 14 วัน หรือนายจ้างหยุดประกอบกิจการ หรือรัฐสั่งให้หยุด ผู้ประกันตนสามารถติดต่อขอรับประโยชน์ทดแทนได้ตามขั้นตอน ดังนี้ กรณีลาออก ผู้ประกันตนขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานทางเว็บไซต์ และรายงานตัวเดือนละ 1 ครั้ง ยื่นขอรับประโยชน์ทดแทนว่างงาน ผ่านทาง หรือส่งเอกสารไปทางไปรษณีย์, โทรสาร, อีเมลล์ หรือแอปพลิเคชั่นไลน์ ได้ที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ รอรับเงินชดเชย 45% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 90 วัน กรณีถูกเลิกจ้าง รอรับเงินชดเชย 70% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 200 วัน และสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หรือสายด่วนประกันสังคม โทร. 1506 ตลอด 24 ชั่วโมง อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง "ประกันสังคม มาตรา 33" - ลูกจ้างห้ามลืม 4 เอกสารสำคัญประกอบร้องทุกข์ เงินเยียวยาโควิดจาก "ประกันสังคม" - ข่าวดีของคนว่างงาน ประกันสังคมเปิดให้อุทธรณ์ รับเงินชดเชย - ยืนยันเงินไม่หาย!

มาตรา 33 เช็กเลย! ประกันสังคมแนะขั้นตอนลงทะเบียนกรณีว่างงาน

ประกันสังคมเร่งเยียวยา ม. 33 วอนนายจ้างช่วยรับรองสิทธิที่ค้างอยู่ - เช็กเลย! มาตรการช่วยเหลือผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40

สำนักงานประกันสังคม แนะขั้นตอน มาตรา 33 ขอรับประโยชน์ทดแทนว่างงานจากเหตุสุดวิสัย ไม่ต้องขึ้นทะเบียนว่างงาน กรณีลูกจ้าง มาตรา 33 นายจ้างไม่ให้ทำงาน, มีเหตุต้องกักตัว 14 วัน, นายจ้างหยุดประกอบกิจการ หรือรัฐสั่งให้หยุด สำนักงานประกันสังคมพร้อมดูแล โดยแนะขั้นตอนการรับเงินชดเชย ดังนี้ กรณีนายจ้างไม่ให้ทำงาน กักตัว 14 วัน ไม่ต้องขึ้นทะเบียนว่างงาน ผู้ประกันตนต้องยื่นขอรับประโยชน์ทดแทนว่างงาน ผ่านทาง นายจ้างรับรองวันที่ลูกจ้างไม่สามารถทำงานได้ รอรับเงินชดเชย 62% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 90 วัน อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง "ประกันสังคม มาตรา 33" - มาตรา 33 เช็กเลย! ประกันสังคมแนะช่องทาง ขั้นตอน และวิธีการขึ้นทะเบียนกรณีว่างงาน - ลูกจ้างห้ามลืม 4 เอกสารสำคัญประกอบร้องทุกข์ เงินเยียวยาโควิดจาก "ประกันสังคม" - ข่าวดีของคนว่างงาน ประกันสังคมเปิดให้อุทธรณ์ รับเงินชดเชย - ยืนยันเงินไม่หาย! ประกันสังคมเร่งเยียวยา ม. 33 วอนนายจ้างช่วยรับรองสิทธิที่ค้างอยู่ - เช็กเลย! มาตรการช่วยเหลือผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา 33, 39 และ 40 กรณีนายจ้างหยุดประกอบกิจการ หรือรัฐสั่งให้หยุด ไม่ต้องขึ้นทะเบียนว่างงาน ผู้ประกันตนต้องยื่นขอรับประโยชน์ทดแทนว่างงานจากเหตุสุดวิสัย ผ่านทาง และสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ หรือสายด่วนประกันสังคม โทร.

ชวนผู้ใช้แรงงานมาอัปเดตข่าวสาร สำหรับผู้ประกันตนประกันสังคม ม. 33 ที่ตกงาน สามารถยื่นเรื่องขอรับเงินทดแทน กรณีว่างงานผ่านเว็บไซต์ เช็กเงื่อนไขและขั้นตอนได้ตรงนี้ ข่าวดีจากทาง สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน แจ้ง ผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือ ม. 33 กรณีว่างงานสามารถรับเงินชดเชยได้ โดยผู้มีสิทธิได้รับเงินทดแทนกรณีว่างงาน คือ บุคคลที่เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน ซึ่งผู้ที่มีสิทธิมีเงื่อนไขดังนี้ - กรณีว่างงานจากการลาออกหรือสิ้นสุดสัญญา ได้รับเงินทดแทน 45% ของค่าจ้าง เป็นระยะเวลาไม่เกิน 90 วัน/ปีปฏิทิน - กรณีถูกเลิกจ้าง ได้รับเงินทดแทน 70% ของค่าจ้าง เป็นระยะเวลาไม่เกิน 200 วัน/ปีปฏิทิน **โดยคำนวณจากฐานค่าจ้างขั้นต่ำเดือนละ 1, 650 บาท และสูงสุดไม่เกิน 15, 000 บาท** ผู้ประกันตนม. 33 สามารถยื่นขอรับเงินชดเชยกรณีว่างงานผ่านเว็บไซต์ได้ดังนี้ 1. ลงทะเบียนขอใช้ Digital ID ผ่านระบบ เพื่อพิสูจน์ตัวตนทางดิจิทัล 2. เข้าระบบ (Log-in) โดยใช้ User/Password ที่ลงทะเบียน Digital ID และกรอกข้อมูลตามระบบให้ครบถ้วน พร้อมแนบไฟล์ภาพหน้าบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน (Book Bank) ***ตั้งแต่วันที่ 1 พ.

มาตรา 33 เช็กเลย! ประกันสังคม แนะขั้นตอนรับเงินชดเชย กรณีว่างงานจากเหตุสุดวิสัย

  • โอน มรดก ที่ดิน
  • สิทธิประโยชน์ ประกันสังคม มาตรา 33 คือ อะไร ว่างงาน รับ เงิน เยียวยา ได้มั้ย? - YouTube
  • Six big losses คือ 2017

2-01/7) และสำเนาสมุดบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน ที่เป็นเอกสารส่งให้สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด ที่อยู่สถานประกอบการตั้งอยู่ทางไปรษณีย์ (แบบลงทะเบียน) ภายใน 3 วันทำการ นับแต่วันที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-service ทั้งนี้ ขอย้ำว่า นายจ้าง ผู้ประกันตน ไม่ต้องเดินทางมาติดต่อที่สำนักงานประกันสังคม หากมีข้อสงสัยติดต่อสอบถามโทรศัพท์สายด่วนประกันสังคม 1506 ตลอด 24 ชั่วโมง มาตรการโควิดรอบใหม่เพิ่มเติม 1 เดือนลูกจ้างและกิจการที่ได้รับผลกระทบในพื้นที่สีแดงเข้ม รับเงินเยียวยา กรณีว่างงาน ตรวจสอบสิทธิประกันสังคม ผู้ประกันตน ม. 33 ตรวจสอบสิทธิ์เยียวยาของลูกจ้าง >> สำหรับผู้ประกันตน ม. 33 กลุ่มของกิจการที่จะได้รับการเยียวยาตาม มาตรการเยียวยาโควิดรอบใหม่ กลุ่มกิจการ 9 หมวด ได้แก่ ก่อสร้าง ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร ศิลปะ บันเทิงและนันทนาการ กิจกรรมการบริการด้านอื่นๆ ขายส่งขายปลีกและซ่อมยานยนต์ ขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า กิจกรรมการบริหารและบริการสนับสนุน กิจกรรมวิชาชีพ วิทยาศาสตร์ และกิจกรรมทางวิชาการ ข้อมูลข่าวสารและสื่อสาร แนวทางการเยียวยาเพิ่มเติมสำหรับ ลูกจ้างในระบบประกันสังคม (ม. 33) ในกิจการ 9 หมวด รัฐจะจ่ายสมทบให้ลูกจ้างสัญชาติไทย 2, 500 บาทต่อคน แต่ถ้ามีการหยุดงานด้วย รัฐจะจ่ายเงินเยียวยาให้ 50% ของรายได้ (สูงสุดไม่เกิน 7, 500 บาท) รวมแล้วได้รับเงินเยียวยาสูงสุด 10, 000 บาท โดยจะโอนเงินเข้าบัญชีพร้อมเพย์ ในวันที่ 6 สิงหาคม 2564 เอกสารที่ลูกจ้างต้องเตรียม หน้าสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารที่ผูกบัญชีพร้อมเพย์กับบัตรประชาชนแล้ว สำเนาบัตรประชาชน แบบคําขอรับประโยชน์ทดแทน กองทุนประกันสังคม กรณีว่างงาน (สปส.

2-01/7) และสำเนาสมุดบัญชีธนาคารของผู้ประกันตนประเภทออมทรัพย์ เป็นเอกสารส่งให้สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่, จังหวัด ที่่สถานประกอบการตั้งอยู่ทางไปรษณีย์แบบลงทะเบียนตอบรับ นับแต่วันที่บันทึกข้อมูลในระบบ e-service ทั้งนี้ขอย้ำว่า นายจ้างมีหน้าที่ต้องยื่นแบบรายการแสดงการส่งเงินสมทบ(สปส. 1-10) ส่วนที่ 1 และ ส่วนที่ 2 ทุกเดือน โดยในเดือนที่ไม่ได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างตามข้อเท็จจริง ที่มีคำสั่งรัฐสั่งปิดนั้น ในช่องค่าจ้าง และเงินสมทบ ต้องระบุจำนวนค่าจ้างที่จ่ายจริงให้แก่ลูกจ้าง จึงจะได้รับสิทธิประโยชน์กรณีว่างงานจากเหตุสุดวิสัยตามเงื่อนไขข้างต้น ซึ่งหากลูกจ้างยังได้รับค่าจ้าง จะไม่เข้าเงื่อนไขการจ่ายสิทธิประโยชน์ สามารถนำส่งแบบรายการแสดงการนำส่งเงินสมทบ สปส. 1-10 ในระบบ e-service

"ผู้ประกันตนมาตรา 33" ว่างงานจาก โควิด-19 ยื่นรับสิทธิ 50%ของค่าจ้างรายวัน

สำนักงานประกันสังคม เผย ผู้ประกันตนมาตรา 33 ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ของโรค โควิด-19 เนื่องจากรัฐมีคำสั่งปิดสถานที่ หรือกิจการเป็นการชั่วคราว สำนักงานประกันสังคม พร้อมจ่ายสิทธิประโยชน์ กรณีว่างงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย แก่ผู้ประกันตน ในอัตรา 50% ของค่าจ้างรายวัน ไม่เกิน 90 วัน ย้ำ เงื่อนไขผู้ประกันตนจะต้องไม่ได้ทำงานจริง ไม่ได้รับค่าจ้างในระหว่างที่รัฐมีคำสั่งปิดที่ทำงาน โดยให้นายจ้างยื่นแบบรายการแสดงการนำส่งเงินสมทบ (สปส. 1-10) ในระบบ e-service กรณีนายจ้างไม่จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้าง ตามข้อเท็จจริงนั้น อ่านข่าวที่เกี่ยวข้อง ด่วน "ประกันสังคม" มาตรา 39 - มาตรา 40 เร่งทบทวนสิทธิ์ กลุ่มตกหล่น 29 จ. เช็กด่วน ขั้นตอนจ่ายเงินสมทบ "ประกันสังคมมาตรา 40" ผ่าน Shopee "ผู้ประกันตนมาตรา 40" พื้นที่สีแดงเข้ม 24ส. ค รับเงินแล้วกว่า1.

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล | 21 ธ. ค. 2564 เวลา 22:05 น. 9. 2k สิทธิประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา33 กรณี"ว่างงาน"ได้รับเงินทดแทนในกรณีใดได้บ้าง และเมื่อว่างงานจะต้องทำยังไง มาเช็คกันเลย สำนักงานประกันสังคม เปิดให้ ผู้ประกันตนมาตรา33 สามารถใช้สิทธิประโยชน์รับ เงินทดแทนกรณีว่างงาน โดยเงื่อนไขรายละเอียด ดังนี้ ผู้ประกันตนที่มีสิทธิได้รับเงินทดแทน เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 และจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงาน 1. กรณีว่างงานจากการลาออกหรือสิ้นสุดสัญญา ได้รับเงินทดแทน 45% ของค่าจ้าง เป็นระยะเวลาไม่เกิน 90 วัน/ปีปฏิทิน 2.

ต้องไปขึ้นทะเบียนผู้ว่างงานที่สำนักจัดหางาน กรมการจัดหางาน 2. กรอกแบบฟอร์มใบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนกรณีว่างงาน พร้อมด้วยหลักฐานดังนี้ – บัตรประจำตัวประชาชน พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน – รูปถ่ายขนาด 1 นิ้ว 1 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) 3. กรอกแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน พร้อมด้วยหลักฐานดังนี้ – หนังสือรับรองการออกจากงาน หรือสำเนาแบบแจ้งการออกจากงาน (สปส 6-09) หรือ หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างที่ให้ออกจากงาน สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกที่มีชื่อและเลขที่บัญชี 4. เจ้าหน้าที่สำนักจัดหางานทำการสัมภาษณ์/ตรวจสอบคุณสมบัติและประวัติการทำงาน 5. เจ้าหน้าที่สำนักจัดหางานทำการเลือกตำแหน่งงานว่างให้เลือก 3 แห่ง ให้ผู้ประกันตนกรณีว่างงานได้พิจารณา หากยังไม่มีงานที่เหมาะสม เจ้าหน้าที่สำนักจัดหางานจะประสานงานส่งฝึกอบรมแรงงานตามความจำเป็น แต่หากผู้ประกันตนกลับเข้าทำงานในสถานประกอบการ หรือปฏิเสธงานหรือปฏิเสธการฝึกงานที่จัดหาให้และไม่ไปรายงานตัวตามที่กำหนด สำนักงานประกันสังคมจะงดจ่ายประโยชน์ทดแทนทันที 6. เจ้าหน้าที่จะทำการบันทึกสถานะผู้ประกันตนกรณีว่างงานเข้าสู่ฐานข้อมูลกลาง 7. เจ้าหน้าที่สำนักงานประกันสังคมดึงข้อมูลผู้ประกันตนกรณีว่างงานขึ้นมาวินิจฉัยตามเงื่อนไขการเกิดสิทธิ 8.

2-01/7) >> โหลดแบบฟอร์ม สปส. 2-01/7